Thai Name : เหยี่ยวนกกระจอกเล็ก
Common Name : Besra
Scientific Name : Accipiter virgatus
ตัวผู้ : ตาแดง หัวและลำตัวด้านบนน้ำตาลแกมเทาเข้มมากกว่าชนิดอื่นๆ เส้นกลางคอดำ คอและอกตอนบนมีลายขีดหนาสีน้ำตาลเข้ม อกตอนล่างและท้องมีลายขวางค่อนข้างหนาสีส้มแกมน้ำตาล ขณะบินปีกค่อนข้างสั้นและกว้าง ใต้หางมีแถบขวางสีเข้ม 3 แถบชัดเจน ตัวเมีย : ตาเหลือง ลำตัวด้านบนน้ำตาลแกมดำ หัวและท้ายทอยสีเข้มมากหรือเป็นสีดำแตกต่างจากหลัง นกวัยอ่อน : จำแนกได้ยากจากเหยี่ยวนกเขาชิเคราและเหยี่ยวนกเขาพันธุ์ญี่ปุ่น แต่หัวและท้ายทอยเข้มแตกต่างจากหลัง เส้นใต้คอชัดเจนกว่า ลายขีดที่อกดำ ขณะบินปลายปีกค่อนข้างมน
ถิ่นอาศัยในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง : ป่าดิบ ป่าโปร่ง ที่ราบถึงความสูง 2,000 เมตร นกประจำถิ่น
Accipiter virgatus (Temminck) 1822
รากศัพท์จากภาษาละติน virgatus=ขีด หมายถึงมีขีด รวมความได้ว่าเหยี่ยวที่มีลาย
ชื่ออังกฤษ Besra
ชื่ออื่น เองไจ่โฮ้ว (ภาษาท้องถิ่นไต้หวัน) พ๊ะเจี้ยวเอง (ภาษาท้องถิ่นไต้หวัน)
ชื่อไทย เหยี่ยวนกกระจอกเล็ก (เพิ่มเติมโดยผู้แปล)
สถานะภาพ ประจำถิ่น
ขนาด ยาว 25-36 ซม. ปีกกว้าง 51-70 ซม. เทียบสัดส่วนลำตัวและปีก1.9 เทียบสัดส่วนปีกและหาง 0.55
สำหรับเหยี่ยวประจำถิ่นของไต้หวัน เหยี่ยวนกกระจอกเล็กมีขนาดเล็กที่สุด ทั้งยังมีนิสัยซ่อนเล้นอีกต่างหาก มักหลบตามร่มเงาแมกไม้ จึงหาตัวได้ยาก ในความจริงปริมาณและการแพร่กระจายของเหยี่ยวนกกระจอกเล็กนั้นมีมาก อีกทั้งการปรับตัวเข้ากับสภาพป่า หรือกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปโดยมนุษย์ได้ง่าย ซึ่งจุดนี้มีความเหมือนกับเหยี่ยวนกเขาหงอน
สิ่งที่ต่างจากกันคือความตื่นกลัวมนุษย์ จะหลีกเลี่ยงเข้าใกล้ชิดมนุษย์ ถึงจะเป็นผู้มากประสบการณ์ในการศึกษาเหยี่ยว บ่อยครั้งกับเหยี่ยวนกกระจอกเล็ก มักเห็นร่างเพียงแค่เงาก่อนที่จะได้ศึกษาอย่างถี่ถ้วน แม้จะขี้อายแต่ชอบส่งเสียงร้องเป็นการเปิดเผยตัวเอง เสียงร้องที่แหลมเล็ก “ชิว---ชิวชิวชิวชิวชิว” พยางค์แรกเสียงยาว พยางค์ที่ตามมาจะรัวเร็ว ดังนั้นแม้จะไม่เห็นตัวก็สามารถบอกได้จากเสียงว่ามีเหยี่ยวนกเขาเล็กอยู่ในบริเวณนั้นๆ
ในการจำแนกมันมีลักษณะใกล้เคียงเหยี่ยวนกเขาหงอน แต่จากอุปนิสัยซ่อนแร้นทำให้จำแนกได้ยาก ทำให้ชุดขนมีอุปสรรคมาก เมื่อศึกษาชุดขนจากตัวอย่าง พบว่ามีชุดขนที่แตกต่างหลากหลาย ชุดขนตามธรรมชาติบ้างจะมีลายขีดกลางอกเด่นและบ้างก็ลางเลือน บ้างก็ลายขีดลายขวางเข้าแทนที่ ม่านตาของตัวผู้มีทั้งส้มเดง และทั้งเหลือง คาดว่าเป็นไปตามอายุขัย
เนื่องจากเมื่อเกาะนิ่งตามกิ่งไม้ยากแก่การจำแนก ดังนั้นการจำแนกมักกระทำได้ง่ายกว่าเมื่อเหยี่ยวบินวนในเวหา แม้ในขณะบินจะใกล้เคียงเหยี่ยววัยเด็ของเหยี่ยวนกเขาหงอน จึงต้องดูให้ละเอียดก่อนฟันธง
ถึงเหยี่ยวนกกระจอกเล็ก จะแฝงตัวซ่อนเล้นในป่าเพียงใด เมื่อผงาดในท้องฟ้านภาเวหา มักจะเป็นผู้ริเริ่มลงมือจู่โจมนกนักล่าชนิดอื่นก่อนเพื่อปกป้องอาณาเขต ภาพของตัวเล็กโจมตีตัวโตจึงเป็นภาพที่มีความหมายพิเศษ ชีวิตของเหยี่ยวนกกระจอกเล็ก จะโดดเดี่ยวเป็นส่วนใหญ่ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์จับคู่
เวลา
•พบได้ทั้งปี
•แต่เพราะอุปนิสัยซ่อนเร้น ไม่พบบินวนบนท้องฟ้าได้บ่อยนัก จึงหาตัวค่อยข้างยาก
•มีโอกาสพบได้ในช่วงเช้าวันที่มีอากาศอบอุ่น
•เดือนมีนาคมถึงมิถุนายนเป็นช่วงจับคู่ผสมพันธุ์ จึงมักได้ยินเสียงร้องและพบเห็นได้ง่าย
ถิ่นอาศัย
•พบได้ในระดับความสูง0-2500เมตรจากระดับน้ำทะเล ตามเขาที่ราบต่ำพบเจอได้ง่าย
•แหล่งพักพิงเหมือนเหยี่ยวนกเขาหงอน ปรับตัวได้กับทุกสภาพป่า และต้องการอาณาเขตไม่มาก เพียงผืนป่าเล้กๆก็อาศัยได้ตลอดไป
•หากไม่ชอบใกล้ชิดมนุษย์ ดังนั้นจึงจำกัดเฉพาะป่าที่ไร้คนเข้าไปถึง
ลักษณะ
• เต็มวัย ใกล้เคียงกันทั้งสองเพศ กะบาลสีเทา
• เพศผู้ตัวเล็กกว่าอย่างชัดเจน ม่านตาสีเหลือง แล้วเข้มจนส้มแดงเมื่อสูงวัย ใบหน้าสีเทา
• เพศเมียม่านตาสีเหลือง ใบหน้าสีน้ำตาล
• หนังคลุมโคนปากเหลืองอมเขียว จะงอยปากสั้น
• หลังสีน้ำตาลเข้ม ใกล้ส่วนคอสีออกเทา
• ท้องสีขาว คอขาวมีขีดกลางคอสีน้ำตาลชัดเจน กลางอกมีลายขวางสีน้ำตาล สีข้างในวัยเด็กลายขีดสีน้ำตาล พออายุมากขึ้นกลายเป็นลายขวาง จนเมื่อเต็มวัยสีน้ำตาลแดง โดยเฉพาะในเพศผู้
• ท้องและแข้งมีขนลายขวางสีน้ำตาลขั้นในระยะเท่ากัน
• ขนหางสีน้ำตาล มีแถบลายขวางสีแถบ ขนคู่นอกสุดมีลายแถบมากกว่า ใต้ขนหางสีขาว
• ขาเปลือย สีเหลือง ขาและนิ้วตีนผอมบาง นิ้วตีนกลางยาวเป็นพิเศษ
• ปีกสั้นหางยาว ปลายปีกยาวหนึ่งส่วนสามของหาง
• วัยเด็ก แผ่นหลังน้ำตาลอ่อนกว่า
• ม่านตาสีเหลืองอมเขียวหรืออมเทา
• ส่วนอกสีน้ำตาลเหลืองอ่อน เป็นรูปหยอดน้ำไม่เป็นระเบียบขนาดไม่สม่ำเสมอ ส่วนท้องเป็นรูปคล้ายหัวใจ
• เมื่อขึ้นปีที่สองจึงจะมีสีสันเหมือนตัวเต็มวัย
ลักษณะบิน
• ปีกสั้นมน ท้องปีกเป็นร่องมนชัดเจน
• นิ้วมือทั้งห้ายืดออกชัดเจน ดูคล้ายนิ้วสั้น
• ปลายขนปีกปฐมภูมิทั้งห้าจัดเรียงตัวกันเป็นแนวตรง ดูเหมือนหดเข้าหากันระหว่างปลายนิ้วและขนทุติยภูมิ
• หางยาว ปลายหางตัดเรียบ แผ่ออกเป็นรูปพัด
• เมื่อมองในระยะไกล ชุดขนใต้ท้องออกทึบ สังเกตไม่เห็นขนคลุมใต้หางสีขาว
• ในขณะบินวนยกแขนปีกระนาบเดียวกัน ปลายแขนโค้งขึ้นเล็กน้อย
• มักกระพือปีกสลับกับการร่อน กระพือปีกเร็วและลึก
• ใช้เวลากลางอากาศไม่นาน ทิศทางไม่แน่นอนและมักผลุบเข้าแมกไม้
เปรียบเทียบชนิดอื่น
• ขนาดของเหยี่ยวนกเขาหงอนใหญ่และบึกบึนกว่า หัวออกเหลี่ยม จะงอยปากยาว ขาและตีนหนาสั้น ท่วงท่าบินคล้ายกัน แต่ปลายนิ้วไม่ยืดออก ขอบปลายปีกมนเสมอกัน ท่วงท่าการบินหนักแน่นสม่ำเสมอ มักกดปีกเขย่าสั่น
• เหยี่ยวนกเขาพันธุ์ญี่ปุ่นขนาดเล็กกว่าเล็กน้อย แผ่นหลังของตัวผู้ สีออกน้ำเงินอมเทา ขีดกลางคอแคบไม่เด่นชัด ลาดขวางส่วนอกแคบเล็ก สีขนอ่อนกว่า ในขณะบินปีกแคบยาว นิ้วเหยียดออกชัดเจน หางสั้น
• เหยี่ยวท้องแดงวัยเด็กน่องหยาบสั้น ลายอกเป็นดวงหยาบไม่แน่น ใต้ปีกไม่มีลาย ในขณะบินแคบยาว ปลายปีกแหลม ขอบปีกเรียบไม่กลมมน หางค่อนข้างสั้นThai Name : เหยี่ยวนกกระจอกเล็ก
Common Name : Besra
Scientific Name : Accipiter virgatus
ตัวผู้ : ตาแดง หัวและลำตัวด้านบนน้ำตาลแกมเทาเข้มมากกว่าชนิดอื่นๆ เส้นกลางคอดำ คอและอกตอนบนมีลายขีดหนาสีน้ำตาลเข้ม อกตอนล่างและท้องมีลายขวางค่อนข้างหนาสีส้มแกมน้ำตาล ขณะบินปีกค่อนข้างสั้นและกว้าง ใต้หางมีแถบขวางสีเข้ม 3 แถบชัดเจน ตัวเมีย : ตาเหลือง ลำตัวด้านบนน้ำตาลแกมดำ หัวและท้ายทอยสีเข้มมากหรือเป็นสีดำแตกต่างจากหลัง นกวัยอ่อน : จำแนกได้ยากจากเหยี่ยวนกเขาชิเคราและเหยี่ยวนกเขาพันธุ์ญี่ปุ่น แต่หัวและท้ายทอยเข้มแตกต่างจากหลัง เส้นใต้คอชัดเจนกว่า ลายขีดที่อกดำ ขณะบินปลายปีกค่อนข้างมน
ถิ่นอาศัยในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง : ป่าดิบ ป่าโปร่ง ที่ราบถึงความสูง 2,000 เมตร นกประจำถิ่น พบไม่บ่อย
ชนิดย่อย : -
แหล่งอ้างอิง : คู่มือดูนกหมอบุญส่ง เลขะกุล นกเมืองไทย และหนังสือนกในเมืองไทย เล่ม 3
Song Que Ying (ออกเสียงสำเนียงจีนกลางซงเชียะยิง)
Accipiter virgatus (Temminck) 1822
รากศัพท์จากภาษาละติน virgatus=ขีด หมายถึงมีขีด รวมความได้ว่าเหยี่ยวที่มีลาย
ชื่ออังกฤษ Besra
ชื่ออื่น เองไจ่โฮ้ว (ภาษาท้องถิ่นไต้หวัน) พ๊ะเจี้ยวเอง (ภาษาท้องถิ่นไต้หวัน)
ชื่อไทย เหยี่ยวนกกระจอกเล็ก (เพิ่มเติมโดยผู้แปล)
สถานะภาพ ประจำถิ่น
ขนาด ยาว 25-36 ซม. ปีกกว้าง 51-70 ซม. เทียบสัดส่วนลำตัวและปีก1.9 เทียบสัดส่วนปีกและหาง 0.55
สำหรับเหยี่ยวประจำถิ่นของไต้หวัน เหยี่ยวนกกระจอกเล็กมีขนาดเล็กที่สุด ทั้งยังมีนิสัยซ่อนเล้นอีกต่างหาก มักหลบตามร่มเงาแมกไม้ จึงหาตัวได้ยาก ในความจริงปริมาณและการแพร่กระจายของเหยี่ยวนกกระจอกเล็กนั้นมีมาก อีกทั้งการปรับตัวเข้ากับสภาพป่า หรือกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปโดยมนุษย์ได้ง่าย ซึ่งจุดนี้มีความเหมือนกับเหยี่ยวนกเขาหงอน
สิ่งที่ต่างจากกันคือความตื่นกลัวมนุษย์ จะหลีกเลี่ยงเข้าใกล้ชิดมนุษย์ ถึงจะเป็นผู้มากประสบการณ์ในการศึกษาเหยี่ยว บ่อยครั้งกับเหยี่ยวนกกระจอกเล็ก มักเห็นร่างเพียงแค่เงาก่อนที่จะได้ศึกษาอย่างถี่ถ้วน แม้จะขี้อายแต่ชอบส่งเสียงร้องเป็นการเปิดเผยตัวเอง เสียงร้องที่แหลมเล็ก “ชิว---ชิวชิวชิวชิวชิว” พยางค์แรกเสียงยาว พยางค์ที่ตามมาจะรัวเร็ว ดังนั้นแม้จะไม่เห็นตัวก็สามารถบอกได้จากเสียงว่ามีเหยี่ยวนกเขาเล็กอยู่ในบริเวณนั้นๆ
ในการจำแนกมันมีลักษณะใกล้เคียงเหยี่ยวนกเขาหงอน แต่จากอุปนิสัยซ่อนแร้นทำให้จำแนกได้ยาก ทำให้ชุดขนมีอุปสรรคมาก เมื่อศึกษาชุดขนจากตัวอย่าง พบว่ามีชุดขนที่แตกต่างหลากหลาย ชุดขนตามธรรมชาติบ้างจะมีลายขีดกลางอกเด่นและบ้างก็ลางเลือน บ้างก็ลายขีดลายขวางเข้าแทนที่ ม่านตาของตัวผู้มีทั้งส้มเดง และทั้งเหลือง คาดว่าเป็นไปตามอายุขัย
เนื่องจากเมื่อเกาะนิ่งตามกิ่งไม้ยากแก่การจำแนก ดังนั้นการจำแนกมักกระทำได้ง่ายกว่าเมื่อเหยี่ยวบินวนในเวหา แม้ในขณะบินจะใกล้เคียงเหยี่ยววัยเด็ของเหยี่ยวนกเขาหงอน จึงต้องดูให้ละเอียดก่อนฟันธง
ถึงเหยี่ยวนกกระจอกเล็ก จะแฝงตัวซ่อนเล้นในป่าเพียงใด เมื่อผงาดในท้องฟ้านภาเวหา มักจะเป็นผู้ริเริ่มลงมือจู่โจมนกนักล่าชนิดอื่นก่อนเพื่อปกป้องอาณาเขต ภาพของตัวเล็กโจมตีตัวโตจึงเป็นภาพที่มีความหมายพิเศษ ชีวิตของเหยี่ยวนกกระจอกเล็ก จะโดดเดี่ยวเป็นส่วนใหญ่ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์จับคู่
เวลา
•พบได้ทั้งปี
•แต่เพราะอุปนิสัยซ่อนเร้น ไม่พบบินวนบนท้องฟ้าได้บ่อยนัก จึงหาตัวค่อยข้างยาก
•มีโอกาสพบได้ในช่วงเช้าวันที่มีอากาศอบอุ่น
•เดือนมีนาคมถึงมิถุนายนเป็นช่วงจับคู่ผสมพันธุ์ จึงมักได้ยินเสียงร้องและพบเห็นได้ง่าย
ถิ่นอาศัย
•พบได้ในระดับความสูง0-2500เมตรจากระดับน้ำทะเล ตามเขาที่ราบต่ำพบเจอได้ง่าย
•แหล่งพักพิงเหมือนเหยี่ยวนกเขาหงอน ปรับตัวได้กับทุกสภาพป่า และต้องการอาณาเขตไม่มาก เพียงผืนป่าเล้กๆก็อาศัยได้ตลอดไป
•หากไม่ชอบใกล้ชิดมนุษย์ ดังนั้นจึงจำกัดเฉพาะป่าที่ไร้คนเข้าไปถึง
ลักษณะ
• เต็มวัย ใกล้เคียงกันทั้งสองเพศ กะบาลสีเทา
• เพศผู้ตัวเล็กกว่าอย่างชัดเจน ม่านตาสีเหลือง แล้วเข้มจนส้มแดงเมื่อสูงวัย ใบหน้าสีเทา
• เพศเมียม่านตาสีเหลือง ใบหน้าสีน้ำตาล
• หนังคลุมโคนปากเหลืองอมเขียว จะงอยปากสั้น
• หลังสีน้ำตาลเข้ม ใกล้ส่วนคอสีออกเทา
• ท้องสีขาว คอขาวมีขีดกลางคอสีน้ำตาลชัดเจน กลางอกมีลายขวางสีน้ำตาล สีข้างในวัยเด็กลายขีดสีน้ำตาล พออายุมากขึ้นกลายเป็นลายขวาง จนเมื่อเต็มวัยสีน้ำตาลแดง โดยเฉพาะในเพศผู้
• ท้องและแข้งมีขนลายขวางสีน้ำตาลขั้นในระยะเท่ากัน
• ขนหางสีน้ำตาล มีแถบลายขวางสีแถบ ขนคู่นอกสุดมีลายแถบมากกว่า ใต้ขนหางสีขาว
• ขาเปลือย สีเหลือง ขาและนิ้วตีนผอมบาง นิ้วตีนกลางยาวเป็นพิเศษ
• ปีกสั้นหางยาว ปลายปีกยาวหนึ่งส่วนสามของหาง
• วัยเด็ก แผ่นหลังน้ำตาลอ่อนกว่า
• ม่านตาสีเหลืองอมเขียวหรืออมเทา
• ส่วนอกสีน้ำตาลเหลืองอ่อน เป็นรูปหยอดน้ำไม่เป็นระเบียบขนาดไม่สม่ำเสมอ ส่วนท้องเป็นรูปคล้ายหัวใจ
• เมื่อขึ้นปีที่สองจึงจะมีสีสันเหมือนตัวเต็มวัย
ลักษณะบิน
• ปีกสั้นมน ท้องปีกเป็นร่องมนชัดเจน
• นิ้วมือทั้งห้ายืดออกชัดเจน ดูคล้ายนิ้วสั้น
• ปลายขนปีกปฐมภูมิทั้งห้าจัดเรียงตัวกันเป็นแนวตรง ดูเหมือนหดเข้าหากันระหว่างปลายนิ้วและขนทุติยภูมิ
• หางยาว ปลายหางตัดเรียบ แผ่ออกเป็นรูปพัด
• เมื่อมองในระยะไกล ชุดขนใต้ท้องออกทึบ สังเกตไม่เห็นขนคลุมใต้หางสีขาว
• ในขณะบินวนยกแขนปีกระนาบเดียวกัน ปลายแขนโค้งขึ้นเล็กน้อย
• มักกระพือปีกสลับกับการร่อน กระพือปีกเร็วและลึก
• ใช้เวลากลางอากาศไม่นาน ทิศทางไม่แน่นอนและมักผลุบเข้าแมกไม้
เปรียบเทียบชนิดอื่น
• ขนาดของเหยี่ยวนกเขาหงอนใหญ่และบึกบึนกว่า หัวออกเหลี่ยม จะงอยปากยาว ขาและตีนหนาสั้น ท่วงท่าบินคล้ายกัน แต่ปลายนิ้วไม่ยืดออก ขอบปลายปีกมนเสมอกัน ท่วงท่าการบินหนักแน่นสม่ำเสมอ มักกดปีกเขย่าสั่น
• เหยี่ยวนกเขาพันธุ์ญี่ปุ่นขนาดเล็กกว่าเล็กน้อย แผ่นหลังของตัวผู้ สีออกน้ำเงินอมเทา ขีดกลางคอแคบไม่เด่นชัด ลาดขวางส่วนอกแคบเล็ก สีขนอ่อนกว่า ในขณะบินปีกแคบยาว นิ้วเหยียดออกชัดเจน หางสั้น
• เหยี่ยวท้องแดงวัยเด็กน่องหยาบสั้น ลายอกเป็นดวงหยาบไม่แน่น ใต้ปีกไม่มีลาย ในขณะบินแคบยาว ปลายปีกแหลม ขอบปีกเรียบไม่กลมมน หางค่อนข้างสั้นThai Name : เหยี่ยวนกกระจอกเล็ก
Common Name : Besra
Scientific Name : Accipiter virgatus
ตัวผู้ : ตาแดง หัวและลำตัวด้านบนน้ำตาลแกมเทาเข้มมากกว่าชนิดอื่นๆ เส้นกลางคอดำ คอและอกตอนบนมีลายขีดหนาสีน้ำตาลเข้ม อกตอนล่างและท้องมีลายขวางค่อนข้างหนาสีส้มแกมน้ำตาล ขณะบินปีกค่อนข้างสั้นและกว้าง ใต้หางมีแถบขวางสีเข้ม 3 แถบชัดเจน ตัวเมีย : ตาเหลือง ลำตัวด้านบนน้ำตาลแกมดำ หัวและท้ายทอยสีเข้มมากหรือเป็นสีดำแตกต่างจากหลัง นกวัยอ่อน : จำแนกได้ยากจากเหยี่ยวนกเขาชิเคราและเหยี่ยวนกเขาพันธุ์ญี่ปุ่น แต่หัวและท้ายทอยเข้มแตกต่างจากหลัง เส้นใต้คอชัดเจนกว่า ลายขีดที่อกดำ ขณะบินปลายปีกค่อนข้างมน
ถิ่นอาศัยในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง : ป่าดิบ ป่าโปร่ง ที่ราบถึงความสูง 2,000 เมตร นกประจำถิ่น พบไม่บ่อย
ชนิดย่อย : -
แหล่งอ้างอิง : คู่มือดูนกหมอบุญส่ง เลขะกุล นกเมืองไทย และหนังสือนกในเมืองไทย เล่ม 3 รศ.โอภาส ขอบเขตต์
Song Que Ying (ออกเสียงสำเนียงจีนกลางซงเชียะยิง)
Accipiter virgatus (Temminck) 1822
รากศัพท์จากภาษาละติน virgatus=ขีด หมายถึงมีขีด รวมความได้ว่าเหยี่ยวที่มีลาย
ชื่ออังกฤษ Besra
ชื่ออื่น เองไจ่โฮ้ว (ภาษาท้องถิ่นไต้หวัน) พ๊ะเจี้ยวเอง (ภาษาท้องถิ่นไต้หวัน)
ชื่อไทย เหยี่ยวนกกระจอกเล็ก (เพิ่มเติมโดยผู้แปล)
สถานะภาพ ประจำถิ่น
ขนาด ยาว 25-36 ซม. ปีกกว้าง 51-70 ซม. เทียบสัดส่วนลำตัวและปีก1.9 เทียบสัดส่วนปีกและหาง 0.55
สำหรับเหยี่ยวประจำถิ่นของไต้หวัน เหยี่ยวนกกระจอกเล็กมีขนาดเล็กที่สุด ทั้งยังมีนิสัยซ่อนเล้นอีกต่างหาก มักหลบตามร่มเงาแมกไม้ จึงหาตัวได้ยาก ในความจริงปริมาณและการแพร่กระจายของเหยี่ยวนกกระจอกเล็กนั้นมีมาก อีกทั้งการปรับตัวเข้ากับสภาพป่า หรือกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปโดยมนุษย์ได้ง่าย ซึ่งจุดนี้มีความเหมือนกับเหยี่ยวนกเขาหงอน
สิ่งที่ต่างจากกันคือความตื่นกลัวมนุษย์ จะหลีกเลี่ยงเข้าใกล้ชิดมนุษย์ ถึงจะเป็นผู้มากประสบการณ์ในการศึกษาเหยี่ยว บ่อยครั้งกับเหยี่ยวนกกระจอกเล็ก มักเห็นร่างเพียงแค่เงาก่อนที่จะได้ศึกษาอย่างถี่ถ้วน แม้จะขี้อายแต่ชอบส่งเสียงร้องเป็นการเปิดเผยตัวเอง เสียงร้องที่แหลมเล็ก “ชิว---ชิวชิวชิวชิวชิว” พยางค์แรกเสียงยาว พยางค์ที่ตามมาจะรัวเร็ว ดังนั้นแม้จะไม่เห็นตัวก็สามารถบอกได้จากเสียงว่ามีเหยี่ยวนกเขาเล็กอยู่ในบริเวณนั้นๆ
ในการจำแนกมันมีลักษณะใกล้เคียงเหยี่ยวนกเขาหงอน แต่จากอุปนิสัยซ่อนแร้นทำให้จำแนกได้ยาก ทำให้ชุดขนมีอุปสรรคมาก เมื่อศึกษาชุดขนจากตัวอย่าง พบว่ามีชุดขนที่แตกต่างหลากหลาย ชุดขนตามธรรมชาติบ้างจะมีลายขีดกลางอกเด่นและบ้างก็ลางเลือน บ้างก็ลายขีดลายขวางเข้าแทนที่ ม่านตาของตัวผู้มีทั้งส้มเดง และทั้งเหลือง คาดว่าเป็นไปตามอายุขัย
เนื่องจากเมื่อเกาะนิ่งตามกิ่งไม้ยากแก่การจำแนก ดังนั้นการจำแนกมักกระทำได้ง่ายกว่าเมื่อเหยี่ยวบินวนในเวหา แม้ในขณะบินจะใกล้เคียงเหยี่ยววัยเด็ของเหยี่ยวนกเขาหงอน จึงต้องดูให้ละเอียดก่อนฟันธง
ถึงเหยี่ยวนกกระจอกเล็ก จะแฝงตัวซ่อนเล้นในป่าเพียงใด เมื่อผงาดในท้องฟ้านภาเวหา มักจะเป็นผู้ริเริ่มลงมือจู่โจมนกนักล่าชนิดอื่นก่อนเพื่อปกป้องอาณาเขต ภาพของตัวเล็กโจมตีตัวโตจึงเป็นภาพที่มีความหมายพิเศษ ชีวิตของเหยี่ยวนกกระจอกเล็ก จะโดดเดี่ยวเป็นส่วนใหญ่ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์จับคู่
เวลา
•พบได้ทั้งปี
•แต่เพราะอุปนิสัยซ่อนเร้น ไม่พบบินวนบนท้องฟ้าได้บ่อยนัก จึงหาตัวค่อยข้างยาก
•มีโอกาสพบได้ในช่วงเช้าวันที่มีอากาศอบอุ่น
•เดือนมีนาคมถึงมิถุนายนเป็นช่วงจับคู่ผสมพันธุ์ จึงมักได้ยินเสียงร้องและพบเห็นได้ง่าย
ถิ่นอาศัย
•พบได้ในระดับความสูง0-2500เมตรจากระดับน้ำทะเล ตามเขาที่ราบต่ำพบเจอได้ง่าย
•แหล่งพักพิงเหมือนเหยี่ยวนกเขาหงอน ปรับตัวได้กับทุกสภาพป่า และต้องการอาณาเขตไม่มาก เพียงผืนป่าเล้กๆก็อาศัยได้ตลอดไป
•หากไม่ชอบใกล้ชิดมนุษย์ ดังนั้นจึงจำกัดเฉพาะป่าที่ไร้คนเข้าไปถึง
ลักษณะ
• เต็มวัย ใกล้เคียงกันทั้งสองเพศ กะบาลสีเทา
• เพศผู้ตัวเล็กกว่าอย่างชัดเจน ม่านตาสีเหลือง แล้วเข้มจนส้มแดงเมื่อสูงวัย ใบหน้าสีเทา
• เพศเมียม่านตาสีเหลือง ใบหน้าสีน้ำตาล
• หนังคลุมโคนปากเหลืองอมเขียว จะงอยปากสั้น
• หลังสีน้ำตาลเข้ม ใกล้ส่วนคอสีออกเทา
• ท้องสีขาว คอขาวมีขีดกลางคอสีน้ำตาลชัดเจน กลางอกมีลายขวางสีน้ำตาล สีข้างในวัยเด็กลายขีดสีน้ำตาล พออายุมากขึ้นกลายเป็นลายขวาง จนเมื่อเต็มวัยสีน้ำตาลแดง โดยเฉพาะในเพศผู้
• ท้องและแข้งมีขนลายขวางสีน้ำตาลขั้นในระยะเท่ากัน
• ขนหางสีน้ำตาล มีแถบลายขวางสีแถบ ขนคู่นอกสุดมีลายแถบมากกว่า ใต้ขนหางสีขาว
• ขาเปลือย สีเหลือง ขาและนิ้วตีนผอมบาง นิ้วตีนกลางยาวเป็นพิเศษ
• ปีกสั้นหางยาว ปลายปีกยาวหนึ่งส่วนสามของหาง
• วัยเด็ก แผ่นหลังน้ำตาลอ่อนกว่า
• ม่านตาสีเหลืองอมเขียวหรืออมเทา
• ส่วนอกสีน้ำตาลเหลืองอ่อน เป็นรูปหยอดน้ำไม่เป็นระเบียบขนาดไม่สม่ำเสมอ ส่วนท้องเป็นรูปคล้ายหัวใจ
• เมื่อขึ้นปีที่สองจึงจะมีสีสันเหมือนตัวเต็มวัย
ลักษณะบิน
• ปีกสั้นมน ท้องปีกเป็นร่องมนชัดเจน
• นิ้วมือทั้งห้ายืดออกชัดเจน ดูคล้ายนิ้วสั้น
• ปลายขนปีกปฐมภูมิทั้งห้าจัดเรียงตัวกันเป็นแนวตรง ดูเหมือนหดเข้าหากันระหว่างปลายนิ้วและขนทุติยภูมิ
• หางยาว ปลายหางตัดเรียบ แผ่ออกเป็นรูปพัด
• เมื่อมองในระยะไกล ชุดขนใต้ท้องออกทึบ สังเกตไม่เห็นขนคลุมใต้หางสีขาว
• ในขณะบินวนยกแขนปีกระนาบเดียวกัน ปลายแขนโค้งขึ้นเล็กน้อย
• มักกระพือปีกสลับกับการร่อน กระพือปีกเร็วและลึก
• ใช้เวลากลางอากาศไม่นาน ทิศทางไม่แน่นอนและมักผลุบเข้าแมกไม้
เปรียบเทียบชนิดอื่น
• ขนาดของเหยี่ยวนกเขาหงอนใหญ่และบึกบึนกว่า หัวออกเหลี่ยม จะงอยปากยาว ขาและตีนหนาสั้น ท่วงท่าบินคล้ายกัน แต่ปลายนิ้วไม่ยืดออก ขอบปลายปีกมนเสมอกัน ท่วงท่าการบินหนักแน่นสม่ำเสมอ มักกดปีกเขย่าสั่น
• เหยี่ยวนกเขาพันธุ์ญี่ปุ่นขนาดเล็กกว่าเล็กน้อย แผ่นหลังของตัวผู้ สีออกน้ำเงินอมเทา ขีดกลางคอแคบไม่เด่นชัด ลาดขวางส่วนอกแคบเล็ก สีขนอ่อนกว่า ในขณะบินปีกแคบยาว นิ้วเหยียดออกชัดเจน หางสั้น
• เหยี่ยวท้องแดงวัยเด็กน่องหยาบสั้น ลายอกเป็นดวงหยาบไม่แน่น ใต้ปีกไม่มีลาย ในขณะบินแคบยาว ปลายปีกแหลม ขอบปีกเรียบไม่กลมมน หางค่อนข้างสั้น
วันพุธที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2558
เหยี่ยวนกเขาชิครา หรือ เหยี่ยวชิครา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Accipiter badius; อังกฤษ: Shikra) เป็นเหยี่ยวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกเหยี่ยวนกเขา
มีลักษณะปากแหลมปลายปากงุ้มลง ปีกกว้างสั้น ปลายปีกแหลม หางยาว ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายกัน แต่ตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าเล็กน้อยและลำตัวออกสีน้ำตาลมากกว่า ลำตัวด้านบนมีสีเทาอมฟ้า แก้มสีเทามีสีขาวเป็นลายเล็ก ๆ สีน้ำตาลจาง ๆ อยู่ติดกัน ที่คอมีสีเส้นสีดำลากผ่านกึ่งกลางสันคอ ตามีสีแดง
หรือเหลือง หางสีเทามีลายแถบสีคล้ำ 5 แถบ แข้งเป็นสีเหลือง เมื่อเวลาบินจะเห็นปีกด้านล่างเป็นสีขาว ปลายปีกเป็นสีดำและมีลายยาวสีน้ำตาลคล้ำ
ลูกนกที่ยังไม่โตเต็มที่จะมีขนสีน้ำตาลเทาเข้ม มีแถบสีขาวและน้ำตาลแดงที่ท้ายทอย คิ้วสีขาว หน้าอกมีแถบใหญ่สีน้ำตาลแดง ที่สีข้างและต้นขามีสีน้ำตาลแดงเป็นขีดสั้น ๆ
มีพฤติกรรมกระพือปีกได้เร็ว และร่อนอยู่กลางอากาศเพื่อหาเหยื่อ ล่าเหยื่อจำพวกสัตว์ชนิดอื่นและนกขนาดเล็ก รวมถึงแมลงขนาดใหญ่เป็นอาหาร มักอยู่ตามลำพังหรืออยู่เป็นคู่ ปกติชอบเกาะนิ่งอยู่ตามยอดไม้สูงชายป่าหรือป่าละเมาะ คอยออกบินโฉบจับเหยื่อไม่ให้รู้ตัว สร้างรังอย่างง่าย ๆ โดยการเอากิ่งไม้มาขัดกันบนคาคบ
เหยี่ยวนกเขาชิครา เป็นนกที่มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง โดยพบได้ตั้งแต่ทวีปแอฟริกา, เอเชียใต้, เอเชียอาคเนย์, เอเชียตะวันออกจนถึงเกาะสุมาตรา จึงแบ่งออกเป็นชนิดย่อยด้วยกันทั้งหมด 6 ชนิด (ดูในตาราง) สำหรับในประเทศไทยสามารถพบได้ทุกภูมิภาคยกเว้นภาคใต้
เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 1 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งประเทศไทย พุทธศักราช 2535
หยี่ยวกิ้งก่าสีดำ Black Baza
เหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ (Black Baza), ชื่อวิทยาศาสตร์ Aviceda leuphotes) เป็นนกล่าเหยื่อขนาดเล็กพบได้ตามป่าในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประชากรส่วนใหญ่เป็นนกอพยพ ซึ่ง ประชากรในประเทศอินเดียจะอพยพหนีหนาวไปตอนใต้ของประเทศและประเทศศรีลังกา เหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ Black Baza มีขาและเท้าสั้น แต่มีกรงเล็บที่แข็งแรงมาก หน้าอกมีแถบกว้างสีขาวและมีแถบสีดำพาดเป็นแนวขวาง นกชนิดนี้สามารถพบได้เป็นกลุ่มเล็กๆในป่าทึบ พวกมันชอบเกาะอยู่ตามกิ่งบนยอดต้นไม้
เหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ Black Baza ในตอนแรกว่ากันว่านกชนิดนี้แยกออกมาจาก พันธุ์พอนด์ดิชอรี่ (Pondicherry) ในชื่อ ฟาลโก้ ลิวโฟท์ (Falco leuphotes) จากนั้นก็มีข้อโต้แย้งอ้างอิงสภาพภูมิศาสตร์ว่าเหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ มีความเกี่ยวข้องกับ วูฟาย (wolfei) ซึ่งแยกออกมาจาก พันธุ์เสฉวน (Sichuan) และอาจนับว่าเป็นหนึ่งในชนิดย่อยของสายพันธุ์นี้ แต่ถึงอย่างไรก็ดีข้อโต้แย้งเกี่ยวกับที่มาของเหยี่ยวกิ้งก่าสีดำนี้ก็ยังไม่มีข้อสรุป
•A. l. syama (ฮอดจ์สัน ปี1837) จากประเทศเนปาล ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย ถึง ภาคใต้ของจีน และอยู่ใน แทบอินโดจีน และ คาบสมุทรมลายู ในฤดูหนาว
•A. l. leuphotes (ดูมองต์ ปี1820) คือพันธุ์ที่อ้างว่าผสมขึ้นในตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน แต่ไม่ปรากฏหลักฐานใดๆ จึงยังเป็นที่สงสัยอย่างมาก ต่อมามีการอ้างว่าเป็นกาผสมแทบประเทศพม่าและประเทศไทย แต่ในกรณีนี้ทำให้ชนิดนี้ไม่ต่างจากชนิดแรกที่กล่าวมาข้างต้นแต่อย่างใด
•A. l. andamanica (อับดุลอาลี และ กรับป์ ปี1970) เป็นชนิดที่มีเฉพาะบนเกาะในอันดามันเท่านั้น ซึ้งมีตัวด้านล่างเป็นสีขาว และไม่มีแทบบนอกเลย
เหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ (Black Baza) เป็นนกล่าเหยื่อขนาดเล็ก ที่มีสีสันที่เห็นได้ชัดเจน มีขนาดตั้งแต่ 30 ถึง 35 เซนติเมตร มีความยาวเมื่อกางปีกอยู่ที่ 66 ถึง 80 เซนติเมตร และหนัก 168 ถึง 224 กรัม ลวดลายบนอกของเหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ (Black Baza) เป็นเอกลักษณ์ที่เด่นชัดจึงจำแนกชนิดได้ง่าย ตัวผู้มีไหล่สีขาวและมีลายสีขาว ส่วนตัวเมียมีไหล่และอกสีขาว แต่แถบข้างไม่มีแถบขาวเหมือนเพศผู้
เมื่อบินเหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ (Black Baza) จะดูคล้ายกา และมักจะพบเห็นอยู่เป็นกลุ่มเล็กๆ ขณะอพยพ ในตอนหยุดพักระหว่างอพยพมันจะอยู่กันเป็นกลุ่มใหญ่
อาหารหลักของ เหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ (Black Baza) คือแมลงชนิดต่างๆ มันจะจับแมลงที่เกาะอยู่ตามใบไม้ และมีคนพบเห็นมันจับนกเด้าลมจากการบินโฉบเข้าไปในฝูงนกเด้าลม ในบางครั้งเหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ (Black Baza) ก็เข้าไปอยู่ปะปนอยู่ในฝูงนกฃนิดอื่นๆ หลายชนิด มันยังสามารถกินผลไม้จากต้นปาล์มได้อีกด้วย เสียงเรียกของเหยี่ยวกิ้งก่าสีดำคือ ‘ชู - วีป’ คล้ายกับ นกขี้เถ้าใหญ่
เหมือนสัตว์ที่อยูในสกุลเอวิชีด้า (genus Aviceda ) เหยี่ยวกิ้งก่าสีดำมีฟันเจาะสองซีกที่ปลายปาก มีข้อถกเถียงกันว่านกชนิดนี้มีกลิ่นตัวคล้ายแมลง
เหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ (Black Baza) กระจายตัวอยู่ในเอเชียตะวันออก และเอเชียใต้บางส่วน พวกมันเป็นนกอพยพในแถบนี้ คุณมีโอกาสพบเห็นเหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ (Black Baza) เป็นจำนวนมากได้ที่จังหวัดชุมพร ประเทศไทย ในช่วงเดือนกันยายนถึงตุลาคมของทุกปี เพราะเป็นเส้นทางที่พวกนกใช้อพยพกัน ในประเทศอื่นๆ ก็มีบ้าง เช่น ช่วงฤดูร้อนของประเทศฮ่องกง แต่ก็พบได้ไม่มากนัก
ในฤดูหนาวคุณจะสามารถเห็นเหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ (Black Baza) ได้ในอินเดีย จากเทือกเขาตะวันตกจนถึงเทือกเขาตะวันออก ในฤดูนี้อาจพบเหยี่ยวกิ้งก่าสีดำมาอาศัยอยู่ในเมืองอย่าง กวินดี้ อุทยานแห่งชาติในเชนไน แถวตริวันดรัม และบังกาลอร์ จากสังเกตพบว่า เหยี่ยวกิ้งก่าสีดำน่าจะผ่านอินเดียตะวันตกและคาบมหาสมุทรอินเดีย เป็นประจำ ไม่ใช่แค่อพยพผ่านเป็นครั้งคราว
เหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ (Black Baza) มีแหล่งผสมพันธุ์อยู่ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย และประเทศพม่า พวกนกจะเริ่มผสมพันธุ์กันในเดือนเมษายน ทั้งตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันสร้างรัง ช่วยกันกกไข่ หาอาหารและดูแลซึ่งกันและกัน
เหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ (Black Baza) ชอบคาบเอาเยื่อไม้หรือแผ่นไม้บางๆ และหญ้ามาสร้างเป็นรัง โดยนำเอาใบไม้มาวางไว้ตรงกลางเป็นที่รองรับไข่ รังของพวกมันจึงมีความแข็งแรง เมื่อแม่นกออกไข่ มันจะดูแลไข่เป็นอย่างดีและจะใช้เวลาราว 26 -27 วัน กว่าที่ลูกนกจะออกจากไข่มาลืมตาดูโลก อาหารของลูกนกเหยี่ยวกิ้งก่าสีดำคือแมลง
ข้อมูลภาษาอังกฤษ : wikipedia
เหยี่ยวต่างสี (Changeable Hawk Eagle)“เหยี่ยวกับนกอินทรีต่างกันอย่างไร?” หากตอบแบบกว้างๆก็คงต้องบอกว่า นกอินทรีตัวใหญ่กว่าเหยี่ยว ตามความเข้าใจของคนส่วนใหญ่ Hawk หมายถึงเหยี่ยว ส่วน Eagle หมายถึงนกอินทรี แล้วพวกที่ชื่อ Hawk Eagle ล่ะ??? ก็ใช้เรียกนกอินทรีที่ปลายปีกไม่ยาวมาก หางค่อนข้างยาว มีลวดลายตามตัว คล้ายเหยี่ยวบางชนิด ส่วนใหญ่มีหงอนยาว มีขนคลุมแข้งจรดข้อเท้าเช่นเดียวกับ“นกอินทรีแท้” และมีกรงเล็บที่ทรงพลัง พวกมันสามารถล่าเหยื่อได้หลายประเภทตั้งแต่นกตัวเล็กๆไปจนถึงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอย่างลิงและค่าง
ด้วยความที่ Hawk Eagle ทุกชนิดเป็นนักล่าที่อาศัยอยู่ตามป่า บางครั้งจึงถูกเรียกว่า“เหยี่ยวดง” พวกมันเป็นนกล่าจากเวหาที่อยู่บนสุดของห่วงโซ่อาหารในป่า ทำให้หลายชนิดถูกเหยี่ยวผึ้ง (Oriental Honey-buzzard) วิวัฒนาการมาให้มีสีสันและลวดลายคล้ายคลึงกัน การเลียนแบบลักษณะนี้เรียกว่า Batesian mimicry ซึ่งหมายถึงสิ่งมีชีวิตที่ไม่เป็นอันตรายเลียนแบบชนิดที่อันตรายกว่าเพื่อให้สัตว์อื่นเกรงกลัวที่จะโจมตี
เหยี่ยวดงที่มีขอบเขตการกระจายพันธุ์แพร่หลายที่สุดในประเทศไทยคือเหยี่ยวต่างสี (Changeable Hawk Eagle) พบได้ในป่าหลายประเภท โดยเฉพาะป่าที่ค่อนข้างโปร่งอย่างป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง กระจายอยู่ทั่วทุกภาคยกเว้นภาคกลาง พบได้ตั้งแต่ที่ราบไปจนถึงระดับความสูงจากน้ำทะเลกว่า 2,000 เมตร
ชื่อไทยของเหยี่ยวต่างสีน่าจะมีจากการที่มันมีชุดขน (colour morph) สองแบบเหมือนเสือดาวและเสือดำ แบบที่พบได้บ่อย (typical morph) มีลำตัวด้านบนสีน้ำตาลอมเทา ด้านล่างมีลายขีดรูปหยดน้ำสีน้ำตาลเข้มและมีขีดลากยาวใต้จงอยปากผ่านกลางลำคอ ส่วนชุดขนอีกแบบที่เรียกว่า dark morph นั้นมีสีน้ำตาลเข้มทั่วทั้งตัว มีรายงานทางภาคใต้ ส่วนชุดขนปกติในวัยเด็กซึ่งมีลำตัวด้านล่างและใบหน้าสีขาวโพลน
ในอดีตเหยี่ยวต่างสีเคยถูกจัดเป็นชนิดย่อยของ Crested Hawk Eagle ซึ่งมีลักษณะคล้ายกันมาก แต่มีหงอนยาวเหมือนกับเหยี่ยวดงชนิดอื่นๆ ต่างจากเหยี่ยวต่างสีที่มีเพียงหงอนสั้นๆ
ความสง่างามและน่าเกรงขามของเหยี่ยวต่างสีเปรียบเสมือนดาบสองคม เพราะเหยี่ยวชนิดนี้และนกล่าเหยื่ออื่นๆต่างเป็นที่ต้องการของตลาดในธุรกิจค้าสัตว์ป่าผิดกฎหมาย ซึ่งนกนักล่าที่ถูกเลี้ยงดูโดยมนุษย์เหล่านี้ก็มักลงเอยด้วยโรคภัยไข้เจ็บต่างๆและอายุไม่ยืน เนื่องจากไม่มีโอกาสได้โบยบินและหาอาหารกินเองเหมือนนกในธรรมชาติ จริงๆแล้วนกล่าเหยื่อทุกชนิดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองที่ผู้ใดมีไว้ในครอบครองถือว่าฝ่าฝืนกฎหมายทั้งสิ้น
เหยี่ยวดำท้องขาว (อังกฤษ: Blyth's Hawk-Eagle), Nisaetus alboniger (เดิมจัดเป็นสกุล Spizaetus)
เป็นนกล่าเหยื่อ ในวงศ์Accipitridae มีการกระจายพันธุ์ในมาเลเซียตะวันตก, ประเทศสิงคโปร์, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียว พบในป่าเปิดโล่ง แม้ว่านกตามเกาะจะพบในป่าที่มีความหนาทึบมากกว่า นกทำรังด้วยกิ่งไม้บนต้นไม้และวางไข่เพียงฟองเดียว
เหยี่ยวดำท้องขาวเป็นนกล่าเหยื่อขนาดกลาง ยาวประมาณ 51–58 ซม. นกเต็มวัยมีแถบสีขาวหนาบนหางส่วนบนและใต้หาง ลำตัวสีดำ อกสีขาวมีจุดสีดำ มีแถบดำด้านล่าง มีหงอนที่หัวคล้ายเหยี่ยวกิ้งก่า นกวัยอ่อนมีสีน้ำตาลเข้มในส่วนบน หัวและท้องมีสีน้ำตาลอ่อน
เหยี่ยวรุ้ง หรือ อีรุ้ง (อังกฤษ: Crested serpent-eagle; ชื่อวิทยาศาสตร์: Spilornis cheela) เป็นนกล่าเหยื่อขนาดกลางจำพวกเหยี่ยวที่พบได้ในป่าในเขตร้อนชื้น มีการกระจายพันธุ์กว้าง ด้วยความที่นกในสกุลนี้กินอาหารหลัก คือ งู จึงได้ชื่อสามัญในภาษาอังกฤษว่า "Serpent-eagle"
ลักษณะทั่วไป
เหยี่ยวรุ้งเป็นนกล่าเหยื่อขนาดกลาง ขนาดลำตัวยาวประมาณ 51-71 เซนติเมตร มีแผ่นหนังสีเหลืองสดใสบริเวณโคนปากไปจนถึงดวงตา ขนบริเวณท้ายทอยค่อนข้างยาวคล้ายมีขนหงอนที่หัว ซึ่งมีลักษณะคล้ายพัดเป็นสีดำลายซีดสีขาว ที่เมื่อเวลาโกรธหรือขู่คู่ต่อสู้ให้กลัวจะแผ่ออก ลำตัวด้านบนเป็นสีน้ำตาลเข้ม โดยเฉพาะที่ปีกจะมีจุดสีขาวกระจายอยู่ ลำตัวด้านล่างเป็นสีน้ำตาลและมีลายจุดสีขาวกระจายอยู่ทั่วไป ตัวที่โตเต็มวัยขณะบินจะเห็นแถบกว้างสีขาวที่หาง และใต้ปีกชัดเจน
การกระจายพันธุ์และถิ่นอาศัย
พบในอินเดีย, จีน, ไหหลำ, ไต้หวัน, พม่า, ไทย, อินโดจีน, มาเลเซียชนิดย่อยมากถึง 20 ชนิด (ดูในตาราง) อาศัยอยู่ตามป่าที่ราบและตามป่าบนยอดเขาใกล้ ๆ แหล่งน้ำต่าง ๆ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535
ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคในปริมาณปานกลาง จึงมี
เหยี่ยวแดง (อังกฤษ: Brahminy kite, Red-backed sea-eagle) เป็นนกล่าเหยื่อขนาดกลางในวงศ์
ลักษณะ
เหยี่ยวแดงมีสีที่ตัดกันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ทั้งตัวจะมีสีน้ำตาลแดงยกเว้นที่หัวและอกมีสีขาว ปลายปีกมีสีดำ ขามีสีเหลือง ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้มีความยาวจากปลายปีกจดปลายหาง 51 ซม. ตัวผู้ยาว 43 ซม.[2] นกวัยอ่อนมีสีน้ำตาลแกมดำคล้ายกับเหยี่ยวดำ แต่มีสีจางกว่า ปีกสั้น และ หางมน
เหยี่ยวแดงมีขนาดพอๆกับเหยี่ยวดำและมีลักษณะการบินที่คล้ายกันจากมุมปีก แต่มันมีปลายหางมนเหมือนกับนกในสกุล Milvus ขณะที่เหยี่ยวดำมีหางเป็นแฉก[3] นกทั้งสองสกุลนี้มีลักษณะใกล้เคียงกันมาก[4]
อนุกรมวิธาน
เหยี่ยวแดงถูกจำแนกครั้งแรกโดยนักธรรมชาติวิทยาชาวดัตช์ที่ชื่อ พีเทอร์ บอดเดอต์ (Pieter Boddaert) ในปี ค.ศ. 1783 มีด้วยกัน 4 สปีชีส์ย่อย:
- indus (Boddaert, 1783) พบในเอเชียใต้
- flavirostris Condon & Amadon, 1954 พบในหมู่เกาะโซโลมอน
- girrenera (Vieillot, 1822) พบในเกาะนิวกินี หมู่เกาะบิสมาร์ค และ ประเทศออสเตรเลีย
- intermedius Blyth, 1865 พบในคาบสมุทรมลายูไปถึงหมู่เกาะซุนดา เกาะซูลาเวซี และ ประเทศฟิลิปปินส์
การกระจายพันธุ์และสถานะการอนุรักษ์
เหยี่ยวแดงสามารถพบได้ในประเทศศรีลังกา, ประเทศอินเดีย, ประเทศปากีสถาน, และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทางใต้ไปได้ไกลถึง เป็นนกประจำถิ่น แต่อาจมีการย้ายถิ่นตามฤดูกาลตามปริมาณน้ำฝนในบางบริเวณของพิสัย
ส่วนใหญ่จะพบในที่ราบแต่บางครั้งพบที่ระดับความสูง 5000 ฟุตในเทือกเขาหิมาลัย
เหยี่ยวแดงถูกประเมินเป็นความเสี่ยงต่ำในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติของชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม อย่างไรก็ตามในบางพื้นที่ นกชนิดนี้มีแนวโน้มที่จะลดจำนวนลง อย่างเช่นใน ชวา
สำหรับในประเทศไทย เหยี่ยวแดงเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 เป็นนกที่สามารถพบได้เฉพาะที่จังหวัดจันทบุรีเท่านั้น โดยจะพบได้ตามแถบชายฝั่งน้ำ, ที่ราบทุ่งนา, ป่าโปร่ง, ปากอ่าว, ชายฝั่งทะเล รวมถึงเกาะเล็ก ๆ ส่วนใหญ่ชอบอยู่ใกล้หมู่บ้าน เช่น หมู่บ้านเลนตัก บริเวณาปากแม่น้ำเวฬุ เป็นต้น โดยถือว่าเป็นดัชนีชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลนประการหนึ่ง
พฤติกรรม
เหยี่ยวแดงชอบบินอยู่ตัวเดียวหรือ เป็นคู่หรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เมื่อพบอาหารมันจะบินเป็นวงกลม พร้อมกับบินดิ่งควงลงมา โฉบอาหารนั้นขึ้นไปกินบนต้นไม้สูงซึ่งอยู่ใกล้ ๆ อาหารได้แก่ กบ เขียด งู นก แมลง หนู ลูกเป็ด ลูกไก่ สัตว์เลื้อยคลานเล็ก ๆ เหยี่ยวแดง ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูหนาวต่อฤดูร้อน ทำรังตามกิ่งไม้ใกล้แหล่งน้ำ วางไข่ครั้งละ 2 - 4 ฟอง ไข่สีขาวไม่มีลวดลายใดๆ ทั้งสองเพศช่วยกันฟักไข่นาน 29 - 31 วัน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)